13/5/62
โปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์ในห้องเรียน
โปรแกรมควบคุมคอมพิวเตอร์ในห้องเรียน
เขียนครั้งแรกโดย วิภัทร ศรุติพรหม
ดูแลโดย WIBOON
- เป็นซอฟต์แวร์ชนิดโอเพนซอร์ส มีทั้งรุ่นใช้บนวินโดวส์และลินุกซ์
- เป็นโปรแกรมควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้เรียน เหมาะสำหรับห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
- ต้นฉบับจาก http://italc.sourceforge.net
- คำแนะนำการใช้งาน http://italc.sf.net/wiki
- ยังไม่ได้ทดสอบว่าใช้งานได้สูงสุดกี่เครื่อง และเงื่อนไขที่ทำได้คืออะไร
- เวอร์ชั่น 2.0.2 ทดสอบแล้วบนวินโดวส์ 7 หรือ วินโดวส์ 8.1
แบบ 32 bit ดาวน์โหลดได้จาก http://ftp.psu.ac.th/pub/italc/italc-2.0.2-win32-setup.exe
แบบ 64 bit ดาวน์โหลดได้จาก http://ftp.psu.ac.th/pub/italc/italc-2.0.2-win64-setup.exe - เวอร์ชั่น 2.0.1 ทดสอบแล้วบน Linux Mint 17.1 คลิกเพื่ออ่าน
ตัวอย่างขั้นตอนติดตั้งบน Windows 8.1
- วิธีติดตั้งสำหรับเครื่องผู้สอน (เครื่องแม่) การติดตั้งต้องเป็นผู้ใช้ที่มีสิทธิระดับเดียวกับ Administrator
ติดตั้งด้วยโปรแกรม iTALC 2.0.2
ได้หน้าต่าง Welcome to the iTALC Setup Wizard ให้คลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง License Agreement ให้คลิกปุ่ม I agree
ได้หน้าต่าง Choose Install Location ยังคงเดิมเป็น C:\Program Files\iTALC แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Choose Components ยังคงเดิมเลือกทั้ง iTALC Service และ iTALC Master แล้วคลิกปุ่ม Next >
แล้วคลิกปุ่ม Install
โปรแกรมจะติดตั้งไปเรื่อยๆ จนเสร็จได้หน้าต่างว่า Completing the iTALC Setup Wizard
โปรแกรมติดตั้งจะสร้างไอคอนไว้ในหน้า Apps ชื่อ iTALC และ iTALC Management Console ของ Windows ให้ด้วย
ยังคงเลือก Run iTALC Management Console now แล้วคลิกปุ่ม Finish
โปรแกรมเปลี่ยนไปได้หน้าต่าง iTALC Management Console
ช่องด้านซ้าย รายการ iTALC Server ให้เลือก Demo server Backend เป็น iTALC 1 demo server
รายการ Paths ไม่เปลี่ยนแปลง
ต่อไปให้เลือกหัวข้อ Authentication
แล้วไปดูช่องด้านขวา ให้ยกเลิกไม่ติ๊ก ACL-based logon authentication
ต่อไปคลิกปุ่ม Launch key file assistant
ได้หน้าต่าง Create/Import iTALC access keys ให้คลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Assistant mode ให้คลิกเลือกเป็น Create new access keys (master computer) แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Select user role ให้ยังคงเลือกเป็น Teacher แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Directories ให้ยังคงติ๊กหัวข้อ Export public key part (master computer) และระบุ path ที่จะวางไฟล์ที่จะนำไปใช้กับเครื่องผู้เรียน
แล้วคลิกปุ่ม Summary ไปเลือกพื้นที่เป็น C:\ แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Key directories ไม่ต้องแก้ไขอะไรให้คงค่าเดิม แล้วคลิกปุ่ม Finish
ตอนนี้ก็จะได้ public key เป็นแฟ้มอยู่ที่ path:\italc_public_key.key.txt
ให้คัดลอกแฟ้ม italc_public_key.key.txt นี้เก็บไว้ เพื่อเอาไปใส่ที่เครื่องลูกข่าย - วิธีติดตั้งสำหรับเครื่องผู้เรียน (เครื่องลูก) การติดตั้งต้องเป็นผู้ใช้ที่มีสิทธิระดับเดียวกับ Administrator
เตรียม public key แฟ้ม italc_public_key.key.txt ให้พร้อม
ติดตั้งด้วยโปรแกรม iTALC 2.0.2
ได้หน้าต่าง Welcome to the iTALC Setup Wizard ให้คลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง License Agreement ให้คลิกปุ่ม I agree
ได้หน้าต่าง Choose Install Location ยังคงเดิมเป็น C:\Program Files\iTALC แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Choose Components ให้ยกเลิกไม่ต้องติ๊ก iTALC Master แล้วคลิกปุ่ม Next >
แล้วคลิกปุ่ม Install
โปรแกรมจะติดตั้งไปเรื่อย ๆ จนเสร็จได้หน้าต่างว่า Completing the iTALC Setup Wizard
ยังคงเลือก Run iTALC Management Console now แล้วคลิกปุ่ม Finish
โปรแกรมเปลี่ยนไปได้หน้าต่าง iTALC Management Console
ช่องด้านซ้าย รายการ General เลือก Hide tray icon
ช่องด้านซ้าย รายการ iTALC Server ให้เลือก Demo server Backend เป็น iTALC 1 demo server
รายการ Paths ไม่เปลี่ยนแปลง
ต่อไปให้เลือกหัวข้อ Authentication
แล้วไปดูช่องด้านขวา ให้ยกเลิกไม่ติ๊ก ACL-based logon authentication
ต่อไปให้คลิกปุ่ม Launch key file assistant
ได้หน้าต่าง Create/Import iTALC access keys ให้คลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Assistant mode ให้คลิกเลือกเป็น Import public key (client computer) แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Select user role ให้ยังคงเลือกเป็น Teacher แล้วคลิกปุ่ม Next >
ที่ช่อง please scpecify the location of the public access key to be imported.
ให้เลือกไปยังพื้นที่ที่เก็บแฟ้ม italc_public_key.key.txt ที่เตรียมไว้ แล้วคลิกปุ่ม Next >
ได้หน้าต่าง Summary ให้คลิกปุ่ม Finish
การตั้งค่าครั้งแรกก่อนใช้งาน (ที่เครื่องผู้สอน)
- ก่อนใช้งานต้องเพิ่ม classroom และเพิ่ม computer เข้าไปก่อน
ให้ไปเปิดโปรแกรม iTALC แม่ข่าย ไปที่แถบเมนูด้านซ้าย(แนวดิ่ง) ปุ่มที่ 2 หัวข้อ Classroom-Manager
ให้คลิกขวา Add Classroom และ Add Computer ใส่แต่เลข ip ของเครื่องลูกข่ายก็พอ
วิธีสร้าง class room ขึ้นมา 1 ชื่อ มีขั้นตอนอย่างละเอียดดังนี้
คลิกที่ไอคอนอันที่สองที่แถบด้านซ้าย Classroom-Manager
คลิกขวาเลือก Add classroom
หัวข้อ New classroom ตั้งชื่อ classroom ตามต้องการ แล้วคลิก OK
คลิกขวาเลือก Add computer
หัวข้อ Add computer ตั้งค่า Client settings ดังนี้
IP/hostname: ใส่ IP ที่ถูกต้อง
Name: ตั้งชื่อตามต้องการ
MAC address: ใส่ในรูปแบบ xx:xx:xx:xx:xx:xx (เผื่อต้องการใช้งานเรื่อง Wake on LAN หรือ Power On)
Classroom: เลือกชื่อ classroom ที่สร้างไว้
Type: เลือกเป็นชนิด Student computer
การใช้งาน (ที่เครื่องผู้สอน)
- ถ้ายังไม่ได้เปิดโปรแกรม ให้ไปเปิดโปรแกรม iTALC
- การใช้งานต้องไปที่เมนูด้านบน(แนวนอน) คลิกหัวข้อ Classroom แล้วเลือก classroom ที่ต้องการควบคุมพร้อมกันทุกเครื่อง
จะได้จอเล็กของคอมพิวเตอร์ลูกข่ายแต่ละเครื่องออกมาใช้งาน - เราสามารถควบคุมเฉพาะเครื่องได้ โดยการคลิกขวาที่เครื่องที่ต้องการ แล้วเลือกคำสั่งที่ต้องการ
ที่มา:http://opensource.cc.psu.ac.th
12/1/62
VirtualBox with phpVirtualBox (Web Based Interface)
21:31
No comments
phpVirtualBox is an open source web interface for Oracle VirtualBox,
written in php with AJAX implementation. It allows you to remotely
manage VirtualBox instance, really useful when you don’t have GUI in
operating system. phpVirtualBox allows you control and manage guest
instance as like the VirtualBox GUI do, you wont find any difference
between the web interface and VirtualBox GUI. More to that phpVirtualBox
supports remote console via Oracle RDP web client that comes with
Extension Pack.
Here is the small guide to setup phpVirtualBox on Ubuntu (Its supports all Linux Variants, its minimum requirement is to have the web server installed with PHP support).
You can find the created vm’s. You can either create a new vm or work on existing vms by taking console.
To take a remote console you must install VirtualBox Extension Pack and also you have to Enable Remote Console.
You can take console by clicking console tab in browser.
OR
Take mstsc of host server where VirtualBox is running.
That’s All. We welcome your comments, please do comment in comments section.
ที่มา : https://www.itzgeek.com/how-tos/virtualization/manage-virtualbox-with-phpvirtualbox-web-based-interface.html
Here is the small guide to setup phpVirtualBox on Ubuntu (Its supports all Linux Variants, its minimum requirement is to have the web server installed with PHP support).
Prerequisites:
Install Apache with PHP.sudo apt-get install apache2 php5 libapache2-mod-php5
Download phpVirtualBox:
Issue the following command to download the lastest phpVirtualBox.wget 'http://sourceforge.net/projects/phpvirtualbox/files/latest/download'
Extract it.sudo unzip phpvirtualbox-*.zip
Move it to default document root of web server.sudo mv phpvirtualbox-* /var/www/html/virtualbox
Configure phpVirtualBox:
We need to modify the phpVirtualBox configuration to make the successful communication with VirtualBox installation, first we need to rename sample config file (config.php-example to config.php).sudo mv /var/www/html/virtualbox/config.php-example /var/www/html/virtualbox/config.php
Modify the config filesudo nano /var/www/html/virtualbox/config.php
Following are the minimum configuration for phpVirtualBox. User Name /
Password for the system that runs VirtualBox, in my case i am using
user “raj”, because he will be configured to run vboxwebsrv service(
will be set in next step).
var $username = ‘raj’;
var $password = ‘x’;
If you are running VirtualBox and php are on the same host, leave the following $location as it is.var $password = ‘x’;
var $location = ‘http://127.0.0.1:18083/’;
Configure vboxweb-service:
VirtualBox setup creates init script vboxweb-service when it is installed, this is used to start and stop the vboxwebserv, before starting the service, we need to have /etc/default/virtualbox file because it contains settings for the service . We need to create it manually if it does not exists.sodo nano /etc/default/virtualbox
We must set minimum VBOXWEB_USER to run the vboxweb-service, now
VirtualBox will run as “raj”; this user and password must be entered in
phpVirtualBox config file.VBOXWEB_USER=raj
If you are running phpVirtualBox in some other host, VBOXWEB_HOST is
need to be set in the same file, in this case phpVirtualBox will
communicate with vboxweb-service over the network.VBOXWEB_USER=raj
VBOXWEB_HOST=192.168.1.103
Restart the vboxweb-service.sudo /etc/init.d/vboxweb-service restart
Now open a web browser and point to http://your-ip-address/virtualbox, you will be asked to login. Default login is admin /admin.You can find the created vm’s. You can either create a new vm or work on existing vms by taking console.
To take a remote console you must install VirtualBox Extension Pack and also you have to Enable Remote Console.
You can take console by clicking console tab in browser.
OR
Take mstsc of host server where VirtualBox is running.
That’s All. We welcome your comments, please do comment in comments section.
ที่มา : https://www.itzgeek.com/how-tos/virtualization/manage-virtualbox-with-phpvirtualbox-web-based-interface.html
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)