23/7/57
ตรวจจับสัญญาน Wireless ด้วยโปรแกรม inSSIDer และโปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector
09:25
No comments
ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ
Wireless LAN หรือ WLAN
เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายแบบไร้สาย
(ไม่จำเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล)
เหมาะสำหรับการติดตั้งในสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย
หรือในสถานที่ที่ต้องการความสวยงาม เรียบร้อย และเป็นระเบียบ เช่น
สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น
การเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc หรือ Peer to Peer เป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป โดยที่ไม่มีศูนย์กลางควบคุมอุปกรณ์ทุกเครื่องสามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันได้เอง ตัวส่งจะใช้วิธีการแพร่กระจายคลื่นออกไปในทุกทิศทุกทางโดยไม่ทราบจุดหมายปลายทางของตัวรับว่าอยู่ที่ใด ซึ่งตัวรับจะต้องอยู่ในขอบเขตพื้นที่ให้บริการที่คลื่นสามารถเดินทางมาถึงแล้วคอยเช็คข้อมูลว่าใช่ของตน หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบค่า Mac Address ผู้รับปลายทางในเฟรมข้อมูลที่แพร่กระจายออกมา ถ้าใช่ข้อมูลของตนก็จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลต่อไป
การเชื่อมโยงเครือข่ายไวร์เลสแลนที่ใช้โครงสร้างการเชื่อมโยงแบบ Ad-hoc ไม่สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายอีเธอร์เน็ตได้ เนื่องจากบนระบบไม่มีการใช้สัญญาณเลย
2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure หรือ Client / Server มีข้อพิเศษกว่าระบบแบบ Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสพอยน์เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยง (ทำหน้าที่คล้ายฮับ) และเป็นสะพานเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายอุปกรณ์ไวร์เลสแลนเข้าสู่เคลือข่ายอีเธอร์เน็ตแลนหลัก (Ethernet Backbone) รวมถึงการควบคุมการสื่อสารข้อมูลอุปกรณ์ไวร์เลสแลน
โปรแกรม inSSIDer
Download โปรแกรม inSSIDer
เมื่อเข้าสู้โปรแกรม โปรแกรมจะทำการค้นหาสัญญาณ Wireless อัตโนมัติ
โปรแกรมสามารถเลือกรูปแบบของกราฟที่แสดง
แสดงกราฟลักษณะของกราฟแท่ง
แสดงกราฟลักษณะของกราฟเวลา
มีช่องสำหรับกรอก เพื่อกำหนดของเขตในการค้นหาเช่นตัวอย่างนี้
โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector
Download โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector
เมื่อเข้าสู้โปรแกรม โปรแกรมจะทำการค้นหาสัญญาณ Wireless อัตโนมัติ
โปรแกรมสามารถเลือกมุมมองในการแสดงได้ดังนี้
มุมมอง ทั้งหมด (All view)
มุมมอง Radar
มุมมอง Network
เมื่อเราเชื่อมต่อ Wireless แล้วเราสามารถทำการทดสอบต่างๆได้ดังนี้
ทดสอบ ความเร็ว
ทดสอบคุณภาพสัญญาณ
ทดสอบการเชื่อมต่อ
1. โปรแกรม inSSIDer ไม่แสดงรายละเอียดของเครื่องเราเมื่อเชื่อมต่อสัญญาณ แต่โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector จะมีรายละเอียดแสดงให้
2. โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector มีการให้บริการมากกว่าการดูรายละเอียดทางเครือข่าย เช่นบริการทดสอบความเร็ว บริการทดสอบคุณภาพสัญญาณ ที่เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ speedtest.net แต่ขอดีที่โปรแกรม inSSIDer มี แต่ โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector ไม่มี คือ โปรแกรม inSSIDer สามารถกรอกชื่อเพื่อคนหา หรือจำกัดขอบเขตในการค้นหาได้ด้วยงายต่อการมอง ส่วนการแสดงผลเป็นกราฟ ทั้งสอบโปรแกรมก็สามารถเลือก สัญญาณที่จะแสดงได้ในลักษณะเดียวกัน
ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/483925
การเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc หรือ Peer to Peer เป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป โดยที่ไม่มีศูนย์กลางควบคุมอุปกรณ์ทุกเครื่องสามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันได้เอง ตัวส่งจะใช้วิธีการแพร่กระจายคลื่นออกไปในทุกทิศทุกทางโดยไม่ทราบจุดหมายปลายทางของตัวรับว่าอยู่ที่ใด ซึ่งตัวรับจะต้องอยู่ในขอบเขตพื้นที่ให้บริการที่คลื่นสามารถเดินทางมาถึงแล้วคอยเช็คข้อมูลว่าใช่ของตน หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบค่า Mac Address ผู้รับปลายทางในเฟรมข้อมูลที่แพร่กระจายออกมา ถ้าใช่ข้อมูลของตนก็จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปประมวลผลต่อไป
การเชื่อมโยงเครือข่ายไวร์เลสแลนที่ใช้โครงสร้างการเชื่อมโยงแบบ Ad-hoc ไม่สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายอีเธอร์เน็ตได้ เนื่องจากบนระบบไม่มีการใช้สัญญาณเลย
2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure หรือ Client / Server มีข้อพิเศษกว่าระบบแบบ Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสพอยน์เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยง (ทำหน้าที่คล้ายฮับ) และเป็นสะพานเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายอุปกรณ์ไวร์เลสแลนเข้าสู่เคลือข่ายอีเธอร์เน็ตแลนหลัก (Ethernet Backbone) รวมถึงการควบคุมการสื่อสารข้อมูลอุปกรณ์ไวร์เลสแลน
โปรแกรม inSSIDer
Download โปรแกรม inSSIDer
- ข้อมูลการ์ดไวร์เลส จะแสดงข้อมูลที่ Toolbar สีเทา
- SSID or Vendor คือ ชื่อสัญญาณ Wireless ที่มองเห็น
- Channel คือ ช่องสัญญาณที่ router หรือ access point ปล่อยออกมา ซึ่งช่องสัญญาณนี้ในทั่วไปจะมีทั้งหมด 13 ช่อง ซึ่ง router หรือ access point จะทำการหาช่องที่ปล่อยคลื่นออกมาแล้วไม่ชนกับเครือข่ายอื่นให้
- Vendor ชื่อ ของเจ้าของ hardware ที่ผู้ผลิตใส่ข้อมูลไว้ ทำให้เห็นยี่ห้อของ router หรือ access point ได้
- Privacy คือ ส่วนแสดงประเภทระบบความปลอดภัยที่เครือข่ายนั้นใช้
- Max Rate คือตัวแสดงความเร็วสูงสุดที่ router หรือ access point ตัวนั้นจะปล่อยออกมาได้ ซึ่งถ้าเป็นแบบ 802.11g จะอยู่ที่ 54 Mbps ส่วน 802.11n จะสูงสุดอยู่ที่ 150 Mbps
- Network Type คือ การแสดงประเภทของ network โดยการเชื่อมต่อกับ router หรือ access point แบบปกตินั้นจะเป็นแบบ infrastructure ส่วนอีกแบบก็คือการเชื่อมต่อแบบเครื่องต่อเครื่องหรือที่เรียกกันว่า ad-hoc
- First Seen / Last Seen คือ เวลาที่ตรวจพบเครือข่ายนั้นครั้งแรก ส่วนอันหลังคือช่วงเวลาสุดท้ายที่เห็นเครือข่ายนั้น
เมื่อเข้าสู้โปรแกรม โปรแกรมจะทำการค้นหาสัญญาณ Wireless อัตโนมัติ
โปรแกรมสามารถเลือกรูปแบบของกราฟที่แสดง
แสดงกราฟลักษณะของกราฟแท่ง
แสดงกราฟลักษณะของกราฟเวลา
มีช่องสำหรับกรอก เพื่อกำหนดของเขตในการค้นหาเช่นตัวอย่างนี้
โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector
Download โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector
เมื่อเข้าสู้โปรแกรม โปรแกรมจะทำการค้นหาสัญญาณ Wireless อัตโนมัติ
โปรแกรมสามารถเลือกมุมมองในการแสดงได้ดังนี้
มุมมอง ทั้งหมด (All view)
มุมมอง Radar
มุมมอง Network
เมื่อเราเชื่อมต่อ Wireless แล้วเราสามารถทำการทดสอบต่างๆได้ดังนี้
ทดสอบ ความเร็ว
ทดสอบคุณภาพสัญญาณ
ทดสอบการเชื่อมต่อ
1. โปรแกรม inSSIDer ไม่แสดงรายละเอียดของเครื่องเราเมื่อเชื่อมต่อสัญญาณ แต่โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector จะมีรายละเอียดแสดงให้
2. โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector มีการให้บริการมากกว่าการดูรายละเอียดทางเครือข่าย เช่นบริการทดสอบความเร็ว บริการทดสอบคุณภาพสัญญาณ ที่เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ speedtest.net แต่ขอดีที่โปรแกรม inSSIDer มี แต่ โปรแกรม Xirrus Wi-Fi Inspector ไม่มี คือ โปรแกรม inSSIDer สามารถกรอกชื่อเพื่อคนหา หรือจำกัดขอบเขตในการค้นหาได้ด้วยงายต่อการมอง ส่วนการแสดงผลเป็นกราฟ ทั้งสอบโปรแกรมก็สามารถเลือก สัญญาณที่จะแสดงได้ในลักษณะเดียวกัน
ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/483925
DD-WRT firmware บน D-Link DIR-600 Wireless N 150
09:22
No comments
DD-WRT ซึ่งเป็น Linux-based firmware
ของอุปกรณ์ประเภท Wireless Access Point หรือ Router
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และมีคุณสมบัติอื่นๆ ให้มากกว่า
firmware ที่ติดตั้งมาพร้อมกับอุปกรณ์
สำหรับ D-Link DIR-600 ไฟล์ firmware ที่ต้องใช้ในการติดตั้งมีสองไฟล์คือ
1. dd-wrt.v24_mini_wrt54g.bin
2. dd-wrt.v24_std_generic.bin
สามารถ Download เวอร์ชั่นใหม่ได้จาก http://www.dd-wrt.com/site/support/router-database
ดูขั้นตอนการติดตั้งได้จาก http://www.bunyiam.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1486
ในกรณีนี้จะแนะนำ ความสามารถของ DD-WRT firmware ให้รู้จัก จากกรณีศึกษา การเซ็ตค่าของอุปกรณ์ Linksys Wireless-G Broadband Router รุ่น WRT54GL v1.1
ที่ให้บริการชั่วคราว ในงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 สงขลานครินทร์เกมส์
โดยอุปกรณ์นี้จะทำหน้าที่เป็นเพียง Access Point เท่านั้น เป็นแค่ทางผ่าน กระจายสัญญาณเท่านั้น ไม่ได้แจก IP ด้วยตนเอง แต่จะให้ Router เป็นผู้แจกเอง
แถบเมนู Setup -> Basic Setup ได้ทำการเซ็ตค่าดังนี้
1. ปิดการใช้งานผ่าน Port WAN
2. Router Name จะเป็นชื่อของอุปกรณ์ ไม่ใช่ชื่อของสัญญาณ Wireless ที่ให้เชื่อมต่อน่ะครับ
3. Network Setup ก็ได้เซ็ต IP ตามที่เราได้วางระบบและต้องการ ครับ
แถบเมนู Wireless -> Basic Setting
1. Wireless Mode ตั้งค่าให้ทำงานในโหมด Access Point
2. Wireless Network Mode จะให้เป็น G-Only เพราะว่า หากมีอุปกรณ์ที่ทำงานในโหมด B เชื่อมต่อเข้ามา จะทำให้ Access Point ทำงานในโหมด B ไปด้วย
นั้นหมายความว่า อุปกรณ์ทุกอย่างที่เชื่อมต่อกับ Access Point เครื่องนั้นใช้งานอินเตอร์เน็ตช้าตามไปด้วย จึงได้ป้องกันเหตุการณ์ดังกล่าว ให้อนุญาตใช้อุปกรณ์ ที่รองรับโหมด G เท่านั้น ใช้งานได้
3. SSID เป็นชื่อของสัญญาณ Wireless ที่มองเห็นเมื่อผ้ใช้บริการจะเชื่อมต่อกับสัญญาณ
4. Wireless Chanel จะดูจากจุดที่จะให้บริการ บริเวณดังกล่าวมีสัญญาณ Wireless ช่องใดอยู่บ้าง จึงจะทำการตั้งค่าไม่ให้ซ้ำกัน
แถบเมนู Wireless -> Advanced Settings
จะใช้การตั้งค่าให้ TX Power ให้เป็นค่าสูงสุดที่ 251 ซึ่งเป็นค่ากำลังสงสูงสุด
แถบเมนู Wireless -> WDS
ในกรณีที่เราต้องการทำ WDS
WDS มาจากคำว่า Wireless Distribution System คือ ระบบกระจายสัญญาณไร้สาย โดย WDS Bridge จะทำงานแบบ Point to Point โดยจะมีข้อแตกต่างจาก Client Bridge คือมันจะทำการส่งค่า MAC Address ของเครื่องลูกข่ายทั้งหมดผ่านไปยัง Interface Wireless ด้วย ซึ่งจะจำเป็นสำหรับการนำไปทำ Wi-Fi Hotspot เพราะผู้ให้บริการ จำเป็นต้องทราบ MAC Address ของเครื่องลูกค้าทุกคน
ทำให้ ไม่ลำบากในการติดตั้งสาย LAN จะใช้สาย LAN เฉพาะเครื่องหลักเท่านั้น แต่มีข้อเสียในด้านความเร็วอินเตอร์เน็ตในการให้บริการ จะถูกหารสอง เนื่องจาก Access Point ต้องคุยกับ Acce
แถบเมนู Serveces -> Hotspot
ในกรณีที่ต้องการทำ Hotspot เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ Hotspot
แถบเมนู Administration -> Firmware Upgrade
ในกรณีที่เราต้องการ Upgrade Firmware ใดๆ จาก DD-WRT Firmware ไปเป็นอย่างอื่น สามารถเข้าใช้ได้ผ่านหน้านี้
แถบเมนู Administration -> Backup
หากเราต้องการ Backup ข้อมูลในการตั้งค่าเราสามารถใช้ได้โดนผ่านหน้านี้ ในการ Backup ไฟล์ที่ได้จะสามารถนำไปใช้ใน อุปกรณ์เครื่องเดิมได้ และสามารถนำไปใช้ในอุปกรณ์ รุ่นเดียวกันแต่เครื่องอื่นได้อีกด้วย
หากเราทำการ เซ็ตค่าของอุปกรณ์หลายๆเครื่อง โดยที่การตั้งค่านั้นเหมือนรือใกล้เคียงกัน ก็ให้วิธีการ Backup แล้วนำไฟล์จากการ Backup ไป Restore ในหน้า Administration -> Backup
แถบเมนู Status -> Router
จะแสดงรายละเอียดของเร้าเตอร์ ทั้งข้อมูลพื้นฐานของอุปกรณ์ การทำงานของ CPU และ Memory
แถบเมนู Status -> Wireless
จะแสดงของมูลสถานะของการให้บริการสัญญาณ Wireless แสดงข้อมูลของผู้ที่เข้ามาเชื่อมต่อ ในกรณีนี้ ได้นำถาพมาให้ชมตอนที่ไม่มีผู้เข้ามาใช้บริการ
หากมีผู้เชื่อมต่ออยู่ จะแสดงข้อมูล MAC Address คุณภาพสัญญาณ แต่จะไม่บอก IP ของอุปกรณ์ที่เขามาเชื่อมต่อ
แถบเมนู Status -> Bandwidth
จะแสดงกราฟแบนวิต ของการใช้งาน Wireless ณ ปัจจุบันเท่านั้น ไม่สามารถดูย้อนหลังได้
ในกรณีที่เราต้องการดูข้อมูลพื้นฐานของอุปกรณ์ และการเชื่อมต่อ สามารถเข้าดูได้เลยผ่าน IP ที่เราตั้งค่าให้ Access Point เครื่องนั้นๆไว้
ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/487582
สำหรับ D-Link DIR-600 ไฟล์ firmware ที่ต้องใช้ในการติดตั้งมีสองไฟล์คือ
1. dd-wrt.v24_mini_wrt54g.bin
2. dd-wrt.v24_std_generic.bin
สามารถ Download เวอร์ชั่นใหม่ได้จาก http://www.dd-wrt.com/site/support/router-database
ดูขั้นตอนการติดตั้งได้จาก http://www.bunyiam.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1486
ในกรณีนี้จะแนะนำ ความสามารถของ DD-WRT firmware ให้รู้จัก จากกรณีศึกษา การเซ็ตค่าของอุปกรณ์ Linksys Wireless-G Broadband Router รุ่น WRT54GL v1.1
ที่ให้บริการชั่วคราว ในงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 สงขลานครินทร์เกมส์
โดยอุปกรณ์นี้จะทำหน้าที่เป็นเพียง Access Point เท่านั้น เป็นแค่ทางผ่าน กระจายสัญญาณเท่านั้น ไม่ได้แจก IP ด้วยตนเอง แต่จะให้ Router เป็นผู้แจกเอง
แถบเมนู Setup -> Basic Setup ได้ทำการเซ็ตค่าดังนี้
1. ปิดการใช้งานผ่าน Port WAN
2. Router Name จะเป็นชื่อของอุปกรณ์ ไม่ใช่ชื่อของสัญญาณ Wireless ที่ให้เชื่อมต่อน่ะครับ
3. Network Setup ก็ได้เซ็ต IP ตามที่เราได้วางระบบและต้องการ ครับ
แถบเมนู Wireless -> Basic Setting
1. Wireless Mode ตั้งค่าให้ทำงานในโหมด Access Point
2. Wireless Network Mode จะให้เป็น G-Only เพราะว่า หากมีอุปกรณ์ที่ทำงานในโหมด B เชื่อมต่อเข้ามา จะทำให้ Access Point ทำงานในโหมด B ไปด้วย
นั้นหมายความว่า อุปกรณ์ทุกอย่างที่เชื่อมต่อกับ Access Point เครื่องนั้นใช้งานอินเตอร์เน็ตช้าตามไปด้วย จึงได้ป้องกันเหตุการณ์ดังกล่าว ให้อนุญาตใช้อุปกรณ์ ที่รองรับโหมด G เท่านั้น ใช้งานได้
3. SSID เป็นชื่อของสัญญาณ Wireless ที่มองเห็นเมื่อผ้ใช้บริการจะเชื่อมต่อกับสัญญาณ
4. Wireless Chanel จะดูจากจุดที่จะให้บริการ บริเวณดังกล่าวมีสัญญาณ Wireless ช่องใดอยู่บ้าง จึงจะทำการตั้งค่าไม่ให้ซ้ำกัน
แถบเมนู Wireless -> Advanced Settings
จะใช้การตั้งค่าให้ TX Power ให้เป็นค่าสูงสุดที่ 251 ซึ่งเป็นค่ากำลังสงสูงสุด
แถบเมนู Wireless -> WDS
ในกรณีที่เราต้องการทำ WDS
WDS มาจากคำว่า Wireless Distribution System คือ ระบบกระจายสัญญาณไร้สาย โดย WDS Bridge จะทำงานแบบ Point to Point โดยจะมีข้อแตกต่างจาก Client Bridge คือมันจะทำการส่งค่า MAC Address ของเครื่องลูกข่ายทั้งหมดผ่านไปยัง Interface Wireless ด้วย ซึ่งจะจำเป็นสำหรับการนำไปทำ Wi-Fi Hotspot เพราะผู้ให้บริการ จำเป็นต้องทราบ MAC Address ของเครื่องลูกค้าทุกคน
ทำให้ ไม่ลำบากในการติดตั้งสาย LAN จะใช้สาย LAN เฉพาะเครื่องหลักเท่านั้น แต่มีข้อเสียในด้านความเร็วอินเตอร์เน็ตในการให้บริการ จะถูกหารสอง เนื่องจาก Access Point ต้องคุยกับ Acce
แถบเมนู Serveces -> Hotspot
ในกรณีที่ต้องการทำ Hotspot เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ Hotspot
แถบเมนู Administration -> Firmware Upgrade
ในกรณีที่เราต้องการ Upgrade Firmware ใดๆ จาก DD-WRT Firmware ไปเป็นอย่างอื่น สามารถเข้าใช้ได้ผ่านหน้านี้
แถบเมนู Administration -> Backup
หากเราต้องการ Backup ข้อมูลในการตั้งค่าเราสามารถใช้ได้โดนผ่านหน้านี้ ในการ Backup ไฟล์ที่ได้จะสามารถนำไปใช้ใน อุปกรณ์เครื่องเดิมได้ และสามารถนำไปใช้ในอุปกรณ์ รุ่นเดียวกันแต่เครื่องอื่นได้อีกด้วย
หากเราทำการ เซ็ตค่าของอุปกรณ์หลายๆเครื่อง โดยที่การตั้งค่านั้นเหมือนรือใกล้เคียงกัน ก็ให้วิธีการ Backup แล้วนำไฟล์จากการ Backup ไป Restore ในหน้า Administration -> Backup
แถบเมนู Status -> Router
จะแสดงรายละเอียดของเร้าเตอร์ ทั้งข้อมูลพื้นฐานของอุปกรณ์ การทำงานของ CPU และ Memory
แถบเมนู Status -> Wireless
จะแสดงของมูลสถานะของการให้บริการสัญญาณ Wireless แสดงข้อมูลของผู้ที่เข้ามาเชื่อมต่อ ในกรณีนี้ ได้นำถาพมาให้ชมตอนที่ไม่มีผู้เข้ามาใช้บริการ
หากมีผู้เชื่อมต่ออยู่ จะแสดงข้อมูล MAC Address คุณภาพสัญญาณ แต่จะไม่บอก IP ของอุปกรณ์ที่เขามาเชื่อมต่อ
แถบเมนู Status -> Bandwidth
จะแสดงกราฟแบนวิต ของการใช้งาน Wireless ณ ปัจจุบันเท่านั้น ไม่สามารถดูย้อนหลังได้
ในกรณีที่เราต้องการดูข้อมูลพื้นฐานของอุปกรณ์ และการเชื่อมต่อ สามารถเข้าดูได้เลยผ่าน IP ที่เราตั้งค่าให้ Access Point เครื่องนั้นๆไว้
ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/487582
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)